โรคจิตจากอินเตอร์เน็ต
hfNj5?;tm
t^okk%LP R K_jEf
การติดอินเตอร์เน็ตทำให้บ้าได้ไหม? นี่เป็นคำถามที่นักคิดนักวิชาการเขาคิดกันมานานแล้ว และดูเหมือนคำตอบจะชัดเจนมากขึ้นทุกวัน 9E#y~k>Gn เมื่อไม่นานมานี้ที่สหรัฐอเมริกา มีคนบ้าอินเตอร์เน็ตหลายรายทำคลิปมาโชว์ให้ดู บางคนบันทึกภาพการฆ่าคนแล้วกินสมอง บางรายฆ่าแล้วเอาไส้ออกมาละเลงขว้างเล่น บางรายออกล่าและฆ่าแมวเป็นว่าเล่น บางรายโชว์ตัวเองกินเลือด อีกรายเป็นภาพวิดีโอชายหนุ่มทำการกินซากศพที่ถูกฉีกออกมาจากร่างของคนรัก ก่อนที่จะโดนจับกุมขณะอ่านข่าวของตัวเอง
ในอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ o6[ vPEJ y0\1ri ส่วนที่นอร์เวย์ เมื่อฤดูร้อนปีที่แล้ว แอนเดอร์ส เบห์ริง เบรวิค ได้ทำการฆ่าหมู่ชาวเดนมาร์ก 77 คน โดยไม่รู้สึกผิดบาปอะไรเลย นายเบรวิคมีประวัติเป็นนักท่องเว็บเต็มเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน รวมถึงฝึกซ้อมยิงปืนในเกมส์ทุกวัน (?`9o < #Ppt21Vv8 เมื่อเดือนมิถุนายนปีที่แล้ว ศาลสูงสหรัฐได้ยอมรับผลงานวิจัยที่ว่า วิดิโอเกมส์ทางอินเตอร์เน็ตเป็นปัญหาทางสังคม แต่ไม่สามารถห้ามขายเกมส์แก่เยาวชนในลอสแองเจลิสได้เพราะขัดรัฐธรรมนูญ แต่ที่ประเทศจีนและเกาหลีได้ลงมือทำไปแล้ว เพราะเขาเห็นว่ามันอันตรายมาก %BI0h+hL 8=VZs<p:L U`""=& นอกจากข่าวคราว หรือความเห็นของฝ่ายต่างๆ แล้ว เมื่อไม่นานมานี้ก็เริ่มจะมีบทความทางวิชาการที่ผ่านการพิจารณาโดยนักวิชาการมาแล้ว (peer review article) กล่าวว่า การที่เราเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลาในโลกนี้ ทำให้เรามีความหมกมุ่น นอกจากนี้ยังทำให้เราโง่ลง เพราะไม่มีเวลาคิดทำอะไรอย่างอื่น และยังทำให้เกิดความเหงา เพราะเหมือนไร้ญาติขาดมิตร ขาดการสังคมกับมนุษย์ในชีวิตจริง เกิดความซึมเศร้า เคร่งเครียด หรืออาจเกิดภาวะย้ำคิดย้ำทำ (obsessive-compulsive) หรือเกิดภาวะสมาธิสั้น (attention-deficiency disorders) หรือบางคนอาจจะบ้า (psychosis)
ไปเลย เขาว่าเมื่อทำการตรวจสมองของคนบ้าอินเตอร์เน็ตด้วยเครื่องสแกนสมองพิเศษแล้ว จะได้ภาพออกมา
เหมือนคนเสพยาเสพติด
F/<7(v คนปัจจุบันนี้มีเปอร์เซ็นต์หมกมุ่นอยู่กับอินเตอร์เน็ตมาก อย่างเช่นที่สหรัฐเมื่อปี 1996 มีรายงานว่า นักวิจัย 7 คนที่สถาบันเอ็มไอทีทำตัวเหมือนมีชีวิตอยู่ระหว่างชีวิตจริงกับชีวิตเสมือน โดยมีการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลา เวลาเดินทางก็มีคีย์บอร์ดพกในกระเป๋า มีจอมอนิเตอร์ขนาดเล็กหนีบติดอยู่ที่แว่นตาเพื่อที่จะสามารถท่องอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา ขณะที่คนอเมริกันโดยเฉพาะเยาวชนทุกวันนี้จะทำตัวกลืนไปกับโลกไซเบอร์ โดยนั่งอยู่หน้าจอวันละ 8 ชั่วโมง และใช้เวลากับมันมากกว่ากิจกรรมอื่นๆ ในชีวิต ขณะที่บริษัทเทคโนโลยีต่างก็พยายามผลิตเครื่องมือต่างๆ ออกมาขายแข่งกัน หรือดึงดูดลูกค้าโดยเร็วเพื่อโกยเงิน ผู้คนจึงพากันติด ipod, ipad, iphone, smart phone และมีคนมากมายนอนกับเครื่องมือเหล่านี้ หลายคนยังไม่ทันลุกออกจากเตียงก็ต้องกดเข้าออนไลน์ก่อนทำอย่างอื่น หลายคนส่งเท็กส์ (text : ข้อความ) เป็นว่าเล่นราวกับการกระพริบตา โดยเฉลี่ยคนอเมริกันส่งเท็กส์กันราว 400 ครั้งต่อเดือน ส่วนเด็กวัยรุ่นส่งเท็กส์ส่งกันราว 3,700 ข้อความต่อเดือน และนับวันจะมีคนกลายเป็นมนุษย์ไซเบอร์มากขึ้นเรื่อยๆ เมืองไทยก็มีแนวโน้มเช่นนั้น QVQ, #I qt.B_sl&3 ^"#$vk|c! นักวิจัยยังต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ปัจจุบันอินเตอร์เน็ตไม่ใช่แค่ระบบการติดต่อสื่อสารเท่านั้น แต่กลายเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อจิตใจมาก เมื่อปีที่แล้วนักวิจัย ซูซาน กรีนฟีลด์ ศาสตราจารย์ทางเภสัชศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดจึงออกมาเตือนว่า ให้ระวังผลร้ายของการหมกมุ่นกับอินเตอร์เน็ต เนื่องจากข้อมูลดิจิตัลอาจจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงจรของสมอง คือทำให้เกิดความบ้าคลั่งขึ้นมา เรียกว่าปัญหาการหมกมุ่นกับอินเตอร์เน็ตมีผลมากราวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมอย่างภาวะโลกร้อนทีเดียว ในหนังสือที่เธอเขียนกล่าวถึงเด็กที่เติบโตในสิ่งแวดล้อมอย่างนี้ว่า สมองอาจจะเปลี่ยนไปจนกลายไปเป็นซอมบี้ X_0WEWkbU &tbb7[P9$/ ปีเตอร์ ไวโบร ผู้อำนวยการสถาบันประสาทและพฤติกรรมมนุษย์ที่ยูซีแอลเอ กล่าวว่า อินเตอร์เน็ตเหมือนโคเคน คือผู้เสพจะมีอาการคลั่งแล้วตามด้วยซึมเศร้า เวลามีสติอยู่ก็มีความวิตกกังวล และมีอาการย้ำคิด เครียด มีอาการอยากเสพอินเตอร์เน็ตตลอด `S[27 j=g)x!&[ ดังนั้นจึงเป็นครั้งแรกที่ในปีหน้า “คู่มือสถิติและการวินิจฉัยภาวะผิดปกติทางจิตของสหรัฐ” จะมีเรื่องความผิดปกติของการเสพติด่อินเตอร์เน็ตรวมอยู่ด้วย แต่จะอยู่ในรูปของภาคผนวก ซึ่งยังต้องศึกษาเพิ่มเติม 67/:,{w v`9rUY{z eTz8*#1T